วันพฤหัสบดีที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2556

การจัดรูปแบบการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์


- ในเชิงปริมาณ ได้มีการคิดดัชนีชี้วัด เพื่อวิเคราะห์ลักษณะการจัดรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน เช่น ดัชนีบ้าน  
   ใกล้เคียง




R
- เท่ากับ 1 การตั้งถิ่นฐานจะเป็นแบบสุ่ม
R
- น้อยกว่า 1 เป็นแบบเกาะกลุ่มหรือกระจุก
R
- มากกว่า 1 เป็นแบบกระจายปกติ

- ประโยชน์ของวิธีการนี้ คือ ใช้ทดสอบรูปแบบการตั้งถิ่นฐานด้วยวิธีการทางสถิติที่พอจะเชื่อถือได้ ว่าใน
   สภาพแวดล้อมต่างกัน  การกระจายของการตั้งถิ่นฐานจะเป็นอย่างไร
          - ในสภาพแวดล้อมที่เหมือนกันแหล่งตั้งถิ่นฐานจะกระจายในสภาพปกติ
          -  ถ้าสภาพภูมิประเทศแตกต่างกันมาก ค่า
          -  นักภูมิศาสตร์ใช้ดัชนีนี้เปรียบเทียบกำหนดรูปแบบการตั้งถิ่นฐาน  เพื่อค้นหาอิทธิพลของ
              ภูมิประเทศที่มีต่อการกระจายของแหล่งตั้งถิ่นฐาน
          -  เพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดระบบการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ใหม่ หรือ วางแผนการตั้งถิ่นฐานใหม่
          -  แต่วิธีการนี้ใช้ได้ในสภาพปัจจุบันเท่านั้น ไม่สามารถพิสูจน์ความ  เป็นมาของแหล่งตั้งถิ่นฐาน
             ได้ เนื่องจากการกระจายแบบเกาะกลุ่มไม่จำเป็นต้องเริ่มจากการตั้งถิ่นฐานแบบเกาะกลุ่ม
              มาแต่แรก

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น